งานชิ้นที่2 สุโขทัย

สมัยสุโขทัย
u  สมัยอยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ตอนต้น
u  สมัยการปฏิรูปการปกครองสมัย ร.5

u  สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย


สมัยสุโขทัย

u  รูปแบบการปกครอง : พ่อปกครองลูก ธรรมราชา
u  ผู้ปกครองเรียกว่า พ่อขุน
u  ผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครองมีความสัมพันธ์กันอย่าง
  ใกล้ชิด
u  เมื่ออาณาจักรขยายใหญ่ขึ้นได้ปรับเอาความคิดของพราหมณ์และพุทธศาสนามาใช้
u  กลายเป็นรูปแบบการปกครองครองแบบธรรมราชา
u  กษัตริย์ต้องมีทศพิธราชธรรม

การจัดรูปแบบการปกครอง
u  การปกครองส่วนกลาง
u  ราชธานี
u  การปกครองหัวเมือง
u  หัวเมืองชั้นใน เมืองอุปราช เมืองหน้าด่าน เมืองลูกหลวง
u  เมืองท้าวพระยามหานคร
u  เมืองประเทศราช

สมัยอยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ตอนต้น
u  สมัยอยุธยา
u  การจัดรูปแบบการปกครอง
 * รับความคิดของทฤษฎีเทวสิทธิ์มาใช้
 * กษัตริย์คือสมมุติเทพ
* จากราชโองการเป็นเทวโองการ
* ผู้ใต้ปกครองต้องเชื่อฟังโดยไม่มีข้อแม้

การจัดรูปแบบการปกครองสมัยอยุธยา
u  การปกครองส่วนกลาง
u  จตุสดมภ์ 4 กรมคือเวียง วัง คลัง นา
u  สมัยพระบรมไตรโลกนาถทรงตั้งกรมกลาโหม และกรมมหาดไทยเพิ่ม
u  เกิดสมุหกลาโหม และสมุหนายก มีอำนาจเหนือเสนาบดีจตุสดมภ์
u  สมัยพระเพทราชาแบ่งให้สมุหกลาโหมดูแลทางใต้ สมุหนายกดูแลทางเหนือ
u  การปกครองหัวเมือง : การรวมอำนาจสู่ส่วนกลาง
u  ยกเลิกหัวเมืองชั้นในทั้ง 4 ทิศ
u  ขยายบริเวณราชธานีออกไปทับเขตเดิม อยู่ใต้กษัตริย์โดยตรง
u  คงเมืองพระยามหานคร โดยแบ่งเป็นเมืองชั้นเอก โท ตรีตามขนาดใหญ่เล็ก
u  ในเมืองหนึ่งๆแบ่งการปกครองท้องที่เป็น เมือง แขวง ตำบล(กำนัน) บ้าน(ผู้ใหญ่บ้าน)

สมัยธนบุรี
ใช้รูปแบบการปกครองเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยา
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินสมัยรัชกาลที่ 5
u  สาเหตุของการปฏิรูปสมัย ร.5
u   การเปลี่ยนแปลงของโลก
u   การคุกคามจากจักรวรรดินิยม
u   ความต้องการเปลี่ยนแปลงจากขุนนางที่       
   ได้รับการศึกษา
u   ความต้องการลดอำนาจขุนนาง

ปฏิรูปการปกครองเป็น 3 ส่วน
u  ส่วนกลาง
u  ส่วนภูมิภาค
u  ส่วนท้องถิ่น
การปกครองส่วนกลาง
u  จัดตั้งกระทรวง 12 กระทรวง โดยมีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีฐานะเสมอกันทั้งหมด
u  กระทรวงมหาดไทย
u  กระทรวงกลาโหม
u  กระทรวงการต่างประเทศ
u  กระทรวงวัง
u  กระทรวงนครบาล
u  กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
u  กระทรวงยุติธรรม
u  กระทรวงยุทธนาธิการ
u  กระทรวงเกษตราธิการ
u  กระทรวงธรรมการ
u  กระทรวงโยธาธิการ
u  กระทรวงมุรธาธิการ

ตั้งสภาที่ปรึกษา 2 สภา
u  1.เสนาบดีสภาหรือรัฐมนตรีสภา
u  ให้คำปรึกษาราชการแผ่นดิน
u  พิจารณาร่างกฎหมาย
u  2.องคมนตรีสภา
u  ที่ปรึกษาราชการส่วนพระองค์
u  เป็นคณะกรรมการชำระความ
การปกครองส่วนภูมิภาค
u  หลักการ
u  ขยายอำนาจการปกครองของส่วนกลางออกไปยังหัวเมืองต่างๆโดยตรง
u  เพื่อสร้างความเป็นเอกภาพและความมั่นคงของประเทศ
u  ยังผลให้หัวเมืองต่างๆอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียวเท่านั้น 
u  มณฑลเทศาภิบาล
u  เมือง
u  อำเภอ
u  ตำบล
u  หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น
u  การจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพ เป็นสุขาภิบาลแห่งแรกเมื่อพ.ศ.2440
u  พ.ศ.2448 จัดตั้งสุขาภิบาลท่าฉลอม
u  ตลอดรัชกาลมีการจัดตั้งสุขาภิบาลทั้งสิ้น 35 แห่ง
u  หน้าที่หลักสำคัญคือการรักษาความสะอาด การบำรุงรักษาถนน

สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย
u  วันก่อการคือวันที่ 24 มิถุนายน 2475
u  คณะผู้ก่อการคือ คณะราษฎร
u  ผู้นำของคณะราษฎรที่สำคัญ เช่น
u  พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
u  พันตรีหลวงพิบูลสงคราม(แปลก ขีตตะสังคะ)
u  หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี  พนมยงค์)
u  หลวงโกวิท  อภัยวงศ์ (ควง  อภัยวงศ์)

สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
     สาเหตุทางเศรษฐกิจ
u  ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำ
u  ภาวะเศรษฐกิจในประเทศถดถอย
u  นโยบายการแก้ปัญหาเศรษฐกิจก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่คนส่วนใหญ่
u  การตัดทอนรายจ่ายรัฐบาล โดยปลดข้าราชการ
u  การเพิ่มภาษีอากร

สาเหตุทางการเมือง
u  อำนาจของพระมหากษัตริย์ไม่มี
u  พระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้อิทธิพลของพระราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ คืออภิรัฐมนตรีสภา
u  ทำให้ข้าราชการทั่วไปรู้สึกว่าพระมหากษัตริย์ทรงส่งเสริมให้พวกราชวงศ์ผูกขาดอำนาจทางการเมือง

สาเหตุทางสังคม
u  ความแตกต่างทางชนชั้นระหว่างชั้นเจ้ากับราษฎรเห็นอย่างชัดเจน
u  เจ้ามีกินอย่างเหลือเฟือส่วนราษฎรอดอยาก
u  เจ้าได้อภิสิทธิ์ต่างๆมากกว่าราษฎร
u  เจ้าใช้อิทธิพลหาผลประโยชน์ให้ตนเอง
u  ก่อให้เกิดความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์กับพวกเจ้า

สาเหตุจากอิทธิพลภายนอก
u  อุดมการณ์ทางประชาธิปไตยแบบตะวันตก
u  พวกนักศึกษาที่ได้ไปศึกษาจากต่างประเทศต้องการเปลี่ยนแปลงให้ประเทศเป็นประชาธิปไตย เพื่อให้ประเทศเจริญเหมือนประเทศประชาธิปไตยทั่วโลก

ผลของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
u  คณะราษฎรจัดตั้งรัฐบาล โดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรก
u  ประกาศใช้รัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475
u  ร.7 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวร เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475

รูปแบบการปกครองหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
u  เป็นรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน
u  สถาบันกษัตริย์เป็นกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ

โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองแบบประชาธิปไตย
u  สภาผู้แทนราษฎร
u  คณะกรรมการราษฎร
u  ศาล
u  รัฐธรรมนูญ
u  พรรคการเมือง
u  การเลือกตั้ง
u  การกระจายอำนาจปกครอง

สภาผู้แทนราษฎร
u  มีอำนาจดูแลควบคุมกิจการของประเทศ
u  มีอำนาจถอดถอนคณะกรรมการราษฎร(คณะรัฐมนตรี)
u  มีอำนาถอดถอนพนักงานของรัฐ
u  ประธานสภาฯคนแรกคือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
u  สมาชิกสภาในครั้งแรกนั้นมาจากการแต่งตั้งจากคณะราษฎร

คณะกรรมการราษฎร
u  สภาผู้แทนราษฎรได้เลือกพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นประธานกรรมการราษฎร หรือนายกรัฐมนตรี
u  สภาผู้แทนราษฎรได้เลือกคณะกรรมการราษฎรหรือรัฐมนตรีอีก 14 คนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

พรรคการเมือง
u  คณะราษฎรได้จดทะเบียนจัดตั้งเป็น สมาคมคณะราษฎรเพื่อเป็นการปูพื้นฐานระบบพรรคการเมืองในอนาคต
u  ถือได้ว่า สมาคมคณะราษฎร เป็นพรรคการเมืองพรรคแรกก็ว่าได้

การเลือกตั้ง
u  มีพ.ร.บ.การเลือกตั้ง 2475 แก้ไขเพิ่มเติม 2476 โดยบัญญัติวีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไว้ 2 ขั้นตอน เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม
u  1. ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งเลือกผู้แทนตำบล
u  2. ผู้แทนตำบลเลือกผู้แทนราษฎร

การกระจายอำนาจปกครอง
u  มีการกระจายอำนาจการปกครองในรูปแบบ เทศบาลเมื่อปี 2476
u  มีการยกฐานะสุขาภิบาลที่อยู่ 35 แห่ง           เป็นเทศบาล
u  รัฐบาลของคณะราษฎรมีความมุ่งหวังจะยกฐานะทุกตำบลให้เป็นเทศบาล ซึ่งตอนนั้นทั่วประเทศมีตำบลรวมทั้งสิ้น 4,800 ตำบล

การจัดรูปแบบการปกครอง
u  มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2476
u   ถือว่าเป็นระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฉบับแรกของประเทศไทย ได้จัดระเบียบบริหารราชการเป็น 3 ส่วน
u  ตาม พ.ร.บ.ดังกล่าวได้จัดระเบียบบริหารราชการเป็น 3 ส่วนคือ
u  การบริหารราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม
u  การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่จังหวัด อำเภอ
u  การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่เทศบาล       


การปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5

    การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศจัดตั้ง "เสนาบดีสภา"และจัดตั้งกระทรวงแบบใหม่12 กระทรวง ได้แก่ กลาโหมนครบาลวังเกษตรพานิชการ,พระคลังการต่างประเทศยุทธนาธิการโยธาธิการธรรมการยุติธรรม ,มุรธาธิการ และมหาดไทย แทนจตุสดมภ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2435 หลังจากนั้นในวันที่ 1 เมษายน 2435 ทรงยุบกระทรวงที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ทำให้เหลือกระทรวงเพียง 10 กระทรวง คือ มหาดไทย กลาโหม นครบาล วัง ต่างประเทศ พระคลังมหาสมบัติ โยธาธิการ ยุติธรรม ธรรมการ เกษตราธิการ
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงจัดการรวบรวมหัวเมืองตามชายแดนต่างๆ ขึ้นเป็นเขตการปกครอง เรียกว่า "มณฑล"โดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองและขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกได้ดังนี้
การปกครองแบบเทศาภิบาล หลักการปกครองแบบนี้คือ รัฐบาลจะทำการปกครองหัวเมืองตั้งแต่ชั้นต่ำสุดถึงสูงสุด โดยเริ่มต้นจากพลเมืองเลือกผู้ใหญ่บ้าน และผู้ใหญ่บ้าน 10 หมู่บ้านมีสิทธิเลือกกำนันของตำบล ตำบลหลายๆ ตำบลมีพลเมืองประมาณ 10,000 คนรวมกันเป็นอำเภอ หลายอำเภอรวมกันเป็นเมือง และหลายเมืองรวมเป็นมณฑลโดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ดูแล

การปกครองท้องที่ ในพ.ศ.2440 รัชกาลที่ 5 ทรงตราพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ สำหรับการจัดการปกครองระดับอำเภอ ตำบลและหมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น ทรงริเริ่มจัดการ "สุขาภิบาล"ในเขตกรุงเทพ และตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อทดลองให้ประชาชนรู้จักการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น

ผลของการปฏิรูปการเมืองการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5

·  ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภายในราชอาณาจักร เป็นผลจากการปกครองส่วนภูมิภาคในรูปมณฑลเทศาภิบาล โดยมีศูนย์รวมอยู่ที่กรุงเทพ
·  รัฐบาลไทยที่กรุงเทพฯ สามารถขยายอำนาจเข้าควบคุมพื้นที่ภายในพระราชอาณาจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
·  ทำให้กลุ่มผู้สูญเสียผลประโยชน์จากการปฏิรูปการปกครองพากันก่อปฏิกิริยาต่อต้านรัฐบาล ดังจะเห็นได้จากกบฏผู้มีบุญทางภาคอีสาน ร.ศ.121 กบฏเงื้ยวเมืองแพร่ ร.ศ.121และกบฏแขกเจ็ดหัวเมือง แต่รัฐบาลก็สามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้

การปฏิรูปการยุติธรรมและการศาล

 ในพ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามริเริ่มปฏิรูปการศาลให้ดีขึ้น โดยการจัดตั้งศาลรับสั่งขึ้นตรงต่อพระองค์ เพื่อพิจารณาคดีความที่อยู่ในกรมพระนครบาล มหาดไทย กรมท่า เมื่อ รัชกาลที่ 5 ทรงรวมอำนาจศาลไปขึ้นกับส่วนกลาง ทำให้ค่าธรรมเนียมและรายได้ที่ขุนนางเคยได้ลดลง และไม่เปิดโอกาสให้ใช้อำนาจทางศาลในทางที่ผิดได้อีกต่อไป นอกจากนี้ยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกระทรวงยุติธรรมในพ.ศ.2435 ด้วยเพื่อพิจารณาคดีอาญาและคดีแพ่งตามแบบตะวันตก โดยมอบหมายให้ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ซึ่งสำเร็จวิชากฎหมายจากประเทศอังกฤษเป็นผู้ดำเนินการ

การจัดตั้งสภาที่ปรึกษา  เพื่อให้ขุนนาง  ข้าราชการ  ได้คุ้นเคยกับการปกครองในรูปแบบใหม่ ทำให้ขุนนาง  ข้าราชการได้รู้จักการแสดงความคิดเห็น  รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ  แต่งตั้งให้มีสภา คือ
      1)สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน  ทำหน้าที่ประชุมปรึกษาในเรื่องราชการแผ่นดิน  การออกกฎหมายต่างๆ
      2)สภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์  ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาส่วนพระองค์เกี่ยวกับราชการต่างๆ

การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง  ใน พ.ศ.2430  พระเจ้าน้องยาเธอ  กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการเสด็จกลับจากดูงานการปกครองในประเทศสหรัฐอเมริกา  ยุโรป  และญี่ปุ่น  ได้ทรงทำบันทึกเสนอต่อรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงพิจารณาที่จะให้มีการปฏิรูปการปกครอง  จึงได้ทรงจัดตั้งกรมขึ้นใหม่  6  กรม  เมื่อรวมกับที่มีอยู่แล้ว  6  กรม  เป็น 12 กรม  คือ
      1)กรมมหาดไทย   2)กรมพระกลาโหม   3)กรทท่า   4)กรมวัง   5)กรมเมือง   6)กรมนา   7)กรมพระคลัง   8)กรมยุติธรรม      
      9)กรมยุทธนาธิการ   10)กรมธรรมการ   11)กรมโยธาธิการ   12)กรมมุรธาธิการ
             ใน พ.ศ.2435  กรมเหล่านี้ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นกระทรวง  และโปรดฯ ให้ยกเลิกการปกครองระบบจตุสดมภ์  และใน      พ.ศ.2437  ได้มีพระราชบัญญัติแยกอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมและมหาดไทยออกจากกัน
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค  มีการปกครองตามระบบเทศาภิบาล  ซึ่งได้ระบุไว้ใน ประกาศจัดปันหน้าที่ระหว่างกระทรวงกลาโหมและกระทรวงมหาดไทย ร.ศ.113  โดยรวมหัวเมืองหลายเมืองเข้าเป็น 1 มณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้บังคับบัญชาการมณฑลละ 1คน  ซึ่งต้องขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย   การเปลี่ยนระบบการปกครองหัวเมืองเป็นระบบเทศาภิบาลไม่ได้ดำเนินการเป็นไปอย่างราบรื่น  เพราะว่ารัฐบาลประสบปัญหาหลายอย่าง เช่น  การขาดบุคลากรในการปฏิบัติงาน  รัฐบาลกลางขาดงบประมาณทำให้รัฐบาลต้องเร่งรัดภาษี
การปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่น  ซึ่งต้องการให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ  ได้มีการประกาศพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล   สุขาภิบาลหัวเมืองแห่งแรกคือสุขาภิบาลตำบลท่าฉลอม  จังหวัดสมุครสาคร  ตั้งขึ้นใน พ.ศ.2448

รัฐสภา

ประวัติรัฐสภาไทย

รัฐสภาของประเทศไทยกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก เมื่อผู้แทนราษฎรจำนวน 70 คนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ได้เปิดประชุมสภาขึ้นเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม และเมื่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศได้สำเร็จลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้พระราชทานพระที่นั่งอนันตสมาคมองค์นี้แก่ผู้แทนราษฎรเพื่อใช้เป็นที่ประชุมสืบต่อมา
ต่อมา เมื่อจำนวนสมาชิกรัฐสภาต้องเพิ่มมากขึ้นตามอัตราส่วนของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดความจำเป็นที่จะต้องจัดสร้างอาคารรัฐสภาที่มีขนาดใหญ่กว่า เพื่อให้มีที่ประชุมเพียงพอกับจำนวนสมาชิก และมีที่ให้ข้าราชการสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาใช้เป็นที่ทำงาน จึงได้มีการวางแผนการจัดสร้างอาคารรัฐสภาขึ้นใหม่ถึง 4 ครั้งด้วยกัน แต่ก็ต้องระงับไปถึง 3 ครั้ง เพราะคณะรัฐมนตรีผู้ดำริต้องพ้นจากตำแหน่งไปเสียก่อน
ในครั้งที่ 4 แผนการจัดสร้างรัฐสภาใหม่ได้ประสบผลสำเร็จ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงยืนยันพระราชประสงค์เดิมที่จะให้ใช้พระที่นั่งอนันตสมาคมและบริเวณ เป็นที่ทำการของรัฐสภาต่อไป และยังได้พระราชทานที่ดินบริเวณทิศเหนือของพระที่นั่งอนันตสมาคม ให้เป็นที่จัดสร้างสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาขึ้นใหม่ด้วย
สถานที่ทำการใหม่ของรัฐสภา เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 โดยมีกำหนดสร้างเสร็จภายใน 850 วัน ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 51,027,360 บาท ประกอบด้วยอาคารหลัก 3 หลัง คือ
·                     หลังที่ 1 เป็นตึก 3 ชั้นใช้เป็นที่ประชุมวุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร และการประชุมร่วมกันของสภาทั้งสอง ส่วนอื่นๆ เป็นที่ทำการของสำนักงานเลขาธิการรัฐสภา ประธาน และรองประธานของสภาทั้งสอง
·                     หลังที่ 2 เป็นตึกสมัยสุโขทัย
u  สมัยอยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ตอนต้น
u  สมัยการปฏิรูปการปกครองสมัย ร.5

u  สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย


สมัยสุโขทัย

u  รูปแบบการปกครอง : พ่อปกครองลูก ธรรมราชา
u  ผู้ปกครองเรียกว่า พ่อขุน
u  ผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครองมีความสัมพันธ์กันอย่าง
  ใกล้ชิด
u  เมื่ออาณาจักรขยายใหญ่ขึ้นได้ปรับเอาความคิดของพราหมณ์และพุทธศาสนามาใช้
u  กลายเป็นรูปแบบการปกครองครองแบบธรรมราชา
u  กษัตริย์ต้องมีทศพิธราชธรรม

การจัดรูปแบบการปกครอง
u  การปกครองส่วนกลาง
u  ราชธานี
u  การปกครองหัวเมือง
u  หัวเมืองชั้นใน เมืองอุปราช เมืองหน้าด่าน เมืองลูกหลวง
u  เมืองท้าวพระยามหานคร
u  เมืองประเทศราช

สมัยอยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ตอนต้น
u  สมัยอยุธยา
u  การจัดรูปแบบการปกครอง
 * รับความคิดของทฤษฎีเทวสิทธิ์มาใช้
 * กษัตริย์คือสมมุติเทพ
* จากราชโองการเป็นเทวโองการ
* ผู้ใต้ปกครองต้องเชื่อฟังโดยไม่มีข้อแม้

การจัดรูปแบบการปกครองสมัยอยุธยา
u  การปกครองส่วนกลาง
u  จตุสดมภ์ 4 กรมคือเวียง วัง คลัง นา
u  สมัยพระบรมไตรโลกนาถทรงตั้งกรมกลาโหม และกรมมหาดไทยเพิ่ม
u  เกิดสมุหกลาโหม และสมุหนายก มีอำนาจเหนือเสนาบดีจตุสดมภ์
u  สมัยพระเพทราชาแบ่งให้สมุหกลาโหมดูแลทางใต้ สมุหนายกดูแลทางเหนือ
u  การปกครองหัวเมือง : การรวมอำนาจสู่ส่วนกลาง
u  ยกเลิกหัวเมืองชั้นในทั้ง 4 ทิศ
u  ขยายบริเวณราชธานีออกไปทับเขตเดิม อยู่ใต้กษัตริย์โดยตรง
u  คงเมืองพระยามหานคร โดยแบ่งเป็นเมืองชั้นเอก โท ตรีตามขนาดใหญ่เล็ก
u  ในเมืองหนึ่งๆแบ่งการปกครองท้องที่เป็น เมือง แขวง ตำบล(กำนัน) บ้าน(ผู้ใหญ่บ้าน)

สมัยธนบุรี
ใช้รูปแบบการปกครองเดียวกับการปกครองสมัยอยุธยา
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดินสมัยรัชกาลที่ 5
u  สาเหตุของการปฏิรูปสมัย ร.5
u   การเปลี่ยนแปลงของโลก
u   การคุกคามจากจักรวรรดินิยม
u   ความต้องการเปลี่ยนแปลงจากขุนนางที่       
   ได้รับการศึกษา
u   ความต้องการลดอำนาจขุนนาง

ปฏิรูปการปกครองเป็น 3 ส่วน
u  ส่วนกลาง
u  ส่วนภูมิภาค
u  ส่วนท้องถิ่น
การปกครองส่วนกลาง
u  จัดตั้งกระทรวง 12 กระทรวง โดยมีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีฐานะเสมอกันทั้งหมด
u  กระทรวงมหาดไทย
u  กระทรวงกลาโหม
u  กระทรวงการต่างประเทศ
u  กระทรวงวัง
u  กระทรวงนครบาล
u  กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
u  กระทรวงยุติธรรม
u  กระทรวงยุทธนาธิการ
u  กระทรวงเกษตราธิการ
u  กระทรวงธรรมการ
u  กระทรวงโยธาธิการ
u  กระทรวงมุรธาธิการ

ตั้งสภาที่ปรึกษา 2 สภา
u  1.เสนาบดีสภาหรือรัฐมนตรีสภา
u  ให้คำปรึกษาราชการแผ่นดิน
u  พิจารณาร่างกฎหมาย
u  2.องคมนตรีสภา
u  ที่ปรึกษาราชการส่วนพระองค์
u  เป็นคณะกรรมการชำระความ
การปกครองส่วนภูมิภาค
u  หลักการ
u  ขยายอำนาจการปกครองของส่วนกลางออกไปยังหัวเมืองต่างๆโดยตรง
u  เพื่อสร้างความเป็นเอกภาพและความมั่นคงของประเทศ
u  ยังผลให้หัวเมืองต่างๆอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียวเท่านั้น 
u  มณฑลเทศาภิบาล
u  เมือง
u  อำเภอ
u  ตำบล
u  หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น
u  การจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพ เป็นสุขาภิบาลแห่งแรกเมื่อพ.ศ.2440
u  พ.ศ.2448 จัดตั้งสุขาภิบาลท่าฉลอม
u  ตลอดรัชกาลมีการจัดตั้งสุขาภิบาลทั้งสิ้น 35 แห่ง
u  หน้าที่หลักสำคัญคือการรักษาความสะอาด การบำรุงรักษาถนน

สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นประชาธิปไตย
u  วันก่อการคือวันที่ 24 มิถุนายน 2475
u  คณะผู้ก่อการคือ คณะราษฎร
u  ผู้นำของคณะราษฎรที่สำคัญ เช่น
u  พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา
u  พันตรีหลวงพิบูลสงคราม(แปลก ขีตตะสังคะ)
u  หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี  พนมยงค์)
u  หลวงโกวิท  อภัยวงศ์ (ควง  อภัยวงศ์)

สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
     สาเหตุทางเศรษฐกิจ
u  ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำ
u  ภาวะเศรษฐกิจในประเทศถดถอย
u  นโยบายการแก้ปัญหาเศรษฐกิจก่อให้เกิดความไม่พอใจแก่คนส่วนใหญ่
u  การตัดทอนรายจ่ายรัฐบาล โดยปลดข้าราชการ
u  การเพิ่มภาษีอากร

สาเหตุทางการเมือง
u  อำนาจของพระมหากษัตริย์ไม่มี
u  พระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้อิทธิพลของพระราชวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ คืออภิรัฐมนตรีสภา
u  ทำให้ข้าราชการทั่วไปรู้สึกว่าพระมหากษัตริย์ทรงส่งเสริมให้พวกราชวงศ์ผูกขาดอำนาจทางการเมือง

สาเหตุทางสังคม
u  ความแตกต่างทางชนชั้นระหว่างชั้นเจ้ากับราษฎรเห็นอย่างชัดเจน
u  เจ้ามีกินอย่างเหลือเฟือส่วนราษฎรอดอยาก
u  เจ้าได้อภิสิทธิ์ต่างๆมากกว่าราษฎร
u  เจ้าใช้อิทธิพลหาผลประโยชน์ให้ตนเอง
u  ก่อให้เกิดความรู้สึกเป็นปฏิปักษ์กับพวกเจ้า

สาเหตุจากอิทธิพลภายนอก
u  อุดมการณ์ทางประชาธิปไตยแบบตะวันตก
u  พวกนักศึกษาที่ได้ไปศึกษาจากต่างประเทศต้องการเปลี่ยนแปลงให้ประเทศเป็นประชาธิปไตย เพื่อให้ประเทศเจริญเหมือนประเทศประชาธิปไตยทั่วโลก

ผลของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
u  คณะราษฎรจัดตั้งรัฐบาล โดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรก
u  ประกาศใช้รัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475
u  ร.7 พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวร เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475

รูปแบบการปกครองหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
u  เป็นรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตย อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน
u  สถาบันกษัตริย์เป็นกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ

โครงสร้างและสถาบันทางการเมืองแบบประชาธิปไตย
u  สภาผู้แทนราษฎร
u  คณะกรรมการราษฎร
u  ศาล
u  รัฐธรรมนูญ
u  พรรคการเมือง
u  การเลือกตั้ง
u  การกระจายอำนาจปกครอง

สภาผู้แทนราษฎร
u  มีอำนาจดูแลควบคุมกิจการของประเทศ
u  มีอำนาจถอดถอนคณะกรรมการราษฎร(คณะรัฐมนตรี)
u  มีอำนาถอดถอนพนักงานของรัฐ
u  ประธานสภาฯคนแรกคือเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
u  สมาชิกสภาในครั้งแรกนั้นมาจากการแต่งตั้งจากคณะราษฎร

คณะกรรมการราษฎร
u  สภาผู้แทนราษฎรได้เลือกพระยามโนปกรณ์นิติธาดาเป็นประธานกรรมการราษฎร หรือนายกรัฐมนตรี
u  สภาผู้แทนราษฎรได้เลือกคณะกรรมการราษฎรหรือรัฐมนตรีอีก 14 คนจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

พรรคการเมือง
u  คณะราษฎรได้จดทะเบียนจัดตั้งเป็น สมาคมคณะราษฎรเพื่อเป็นการปูพื้นฐานระบบพรรคการเมืองในอนาคต
u  ถือได้ว่า สมาคมคณะราษฎร เป็นพรรคการเมืองพรรคแรกก็ว่าได้

การเลือกตั้ง
u  มีพ.ร.บ.การเลือกตั้ง 2475 แก้ไขเพิ่มเติม 2476 โดยบัญญัติวีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรไว้ 2 ขั้นตอน เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม
u  1. ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งเลือกผู้แทนตำบล
u  2. ผู้แทนตำบลเลือกผู้แทนราษฎร

การกระจายอำนาจปกครอง
u  มีการกระจายอำนาจการปกครองในรูปแบบ เทศบาลเมื่อปี 2476
u  มีการยกฐานะสุขาภิบาลที่อยู่ 35 แห่ง           เป็นเทศบาล
u  รัฐบาลของคณะราษฎรมีความมุ่งหวังจะยกฐานะทุกตำบลให้เป็นเทศบาล ซึ่งตอนนั้นทั่วประเทศมีตำบลรวมทั้งสิ้น 4,800 ตำบล

การจัดรูปแบบการปกครอง
u  มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2476
u   ถือว่าเป็นระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฉบับแรกของประเทศไทย ได้จัดระเบียบบริหารราชการเป็น 3 ส่วน
u  ตาม พ.ร.บ.ดังกล่าวได้จัดระเบียบบริหารราชการเป็น 3 ส่วนคือ
u  การบริหารราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม
u  การบริหารราชการส่วนภูมิภาค ได้แก่จังหวัด อำเภอ
u  การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ได้แก่เทศบาล       


การปฏิรูปการปกครองสมัยรัชกาลที่ 5

    การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประกาศจัดตั้ง "เสนาบดีสภา"และจัดตั้งกระทรวงแบบใหม่12 กระทรวง ได้แก่ กลาโหมนครบาลวังเกษตรพานิชการ,พระคลังการต่างประเทศยุทธนาธิการโยธาธิการธรรมการยุติธรรม ,มุรธาธิการ และมหาดไทย แทนจตุสดมภ์เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2435 หลังจากนั้นในวันที่ 1 เมษายน 2435 ทรงยุบกระทรวงที่ซ้ำซ้อนกันอยู่ทำให้เหลือกระทรวงเพียง 10 กระทรวง คือ มหาดไทย กลาโหม นครบาล วัง ต่างประเทศ พระคลังมหาสมบัติ โยธาธิการ ยุติธรรม ธรรมการ เกษตราธิการ
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงจัดการรวบรวมหัวเมืองตามชายแดนต่างๆ ขึ้นเป็นเขตการปกครอง เรียกว่า "มณฑล"โดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองและขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกได้ดังนี้
การปกครองแบบเทศาภิบาล หลักการปกครองแบบนี้คือ รัฐบาลจะทำการปกครองหัวเมืองตั้งแต่ชั้นต่ำสุดถึงสูงสุด โดยเริ่มต้นจากพลเมืองเลือกผู้ใหญ่บ้าน และผู้ใหญ่บ้าน 10 หมู่บ้านมีสิทธิเลือกกำนันของตำบล ตำบลหลายๆ ตำบลมีพลเมืองประมาณ 10,000 คนรวมกันเป็นอำเภอ หลายอำเภอรวมกันเป็นเมือง และหลายเมืองรวมเป็นมณฑลโดยมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ดูแล

การปกครองท้องที่ ในพ.ศ.2440 รัชกาลที่ 5 ทรงตราพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ สำหรับการจัดการปกครองระดับอำเภอ ตำบลและหมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น ทรงริเริ่มจัดการ "สุขาภิบาล"ในเขตกรุงเทพ และตำบลท่าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อทดลองให้ประชาชนรู้จักการปกครองตนเองในระดับท้องถิ่น

ผลของการปฏิรูปการเมืองการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5

·  ก่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันภายในราชอาณาจักร เป็นผลจากการปกครองส่วนภูมิภาคในรูปมณฑลเทศาภิบาล โดยมีศูนย์รวมอยู่ที่กรุงเทพ
·  รัฐบาลไทยที่กรุงเทพฯ สามารถขยายอำนาจเข้าควบคุมพื้นที่ภายในพระราชอาณาจักรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
·  ทำให้กลุ่มผู้สูญเสียผลประโยชน์จากการปฏิรูปการปกครองพากันก่อปฏิกิริยาต่อต้านรัฐบาล ดังจะเห็นได้จากกบฏผู้มีบุญทางภาคอีสาน ร.ศ.121 กบฏเงื้ยวเมืองแพร่ ร.ศ.121และกบฏแขกเจ็ดหัวเมือง แต่รัฐบาลก็สามารถควบคุมสถานการณ์ไว้ได้

การปฏิรูปการยุติธรรมและการศาล

 ในพ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามริเริ่มปฏิรูปการศาลให้ดีขึ้น โดยการจัดตั้งศาลรับสั่งขึ้นตรงต่อพระองค์ เพื่อพิจารณาคดีความที่อยู่ในกรมพระนครบาล มหาดไทย กรมท่า เมื่อ รัชกาลที่ 5 ทรงรวมอำนาจศาลไปขึ้นกับส่วนกลาง ทำให้ค่าธรรมเนียมและรายได้ที่ขุนนางเคยได้ลดลง และไม่เปิดโอกาสให้ใช้อำนาจทางศาลในทางที่ผิดได้อีกต่อไป นอกจากนี้ยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกระทรวงยุติธรรมในพ.ศ.2435 ด้วยเพื่อพิจารณาคดีอาญาและคดีแพ่งตามแบบตะวันตก โดยมอบหมายให้ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ซึ่งสำเร็จวิชากฎหมายจากประเทศอังกฤษเป็นผู้ดำเนินการ

การจัดตั้งสภาที่ปรึกษา  เพื่อให้ขุนนาง  ข้าราชการ  ได้คุ้นเคยกับการปกครองในรูปแบบใหม่ ทำให้ขุนนาง  ข้าราชการได้รู้จักการแสดงความคิดเห็น  รัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ  แต่งตั้งให้มีสภา คือ
      1)สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน  ทำหน้าที่ประชุมปรึกษาในเรื่องราชการแผ่นดิน  การออกกฎหมายต่างๆ
      2)สภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์  ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาส่วนพระองค์เกี่ยวกับราชการต่างๆ

การปฏิรูปการปกครองส่วนกลาง  ใน พ.ศ.2430  พระเจ้าน้องยาเธอ  กรมหลวงเทวะวงศ์วโรปการเสด็จกลับจากดูงานการปกครองในประเทศสหรัฐอเมริกา  ยุโรป  และญี่ปุ่น  ได้ทรงทำบันทึกเสนอต่อรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงพิจารณาที่จะให้มีการปฏิรูปการปกครอง  จึงได้ทรงจัดตั้งกรมขึ้นใหม่  6  กรม  เมื่อรวมกับที่มีอยู่แล้ว  6  กรม  เป็น 12 กรม  คือ
      1)กรมมหาดไทย   2)กรมพระกลาโหม   3)กรทท่า   4)กรมวัง   5)กรมเมือง   6)กรมนา   7)กรมพระคลัง   8)กรมยุติธรรม      
      9)กรมยุทธนาธิการ   10)กรมธรรมการ   11)กรมโยธาธิการ   12)กรมมุรธาธิการ
             ใน พ.ศ.2435  กรมเหล่านี้ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นกระทรวง  และโปรดฯ ให้ยกเลิกการปกครองระบบจตุสดมภ์  และใน      พ.ศ.2437  ได้มีพระราชบัญญัติแยกอำนาจหน้าที่ของกระทรวงกลาโหมและมหาดไทยออกจากกัน
การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค  มีการปกครองตามระบบเทศาภิบาล  ซึ่งได้ระบุไว้ใน ประกาศจัดปันหน้าที่ระหว่างกระทรวงกลาโหมและกระทรวงมหาดไทย ร.ศ.113  โดยรวมหัวเมืองหลายเมืองเข้าเป็น 1 มณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้บังคับบัญชาการมณฑลละ 1คน  ซึ่งต้องขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย   การเปลี่ยนระบบการปกครองหัวเมืองเป็นระบบเทศาภิบาลไม่ได้ดำเนินการเป็นไปอย่างราบรื่น  เพราะว่ารัฐบาลประสบปัญหาหลายอย่าง เช่น  การขาดบุคลากรในการปฏิบัติงาน  รัฐบาลกลางขาดงบประมาณทำให้รัฐบาลต้องเร่งรัดภาษี
การปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่น  ซึ่งต้องการให้ราษฎรมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศ  ได้มีการประกาศพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาล   สุขาภิบาลหัวเมืองแห่งแรกคือสุขาภิบาลตำบลท่าฉลอม  จังหวัดสมุครสาคร  ตั้งขึ้นใน พ.ศ.2448

รัฐสภา

ประวัติรัฐสภาไทย

รัฐสภาของประเทศไทยกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 หลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฉบับแรก เมื่อผู้แทนราษฎรจำนวน 70 คนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ได้เปิดประชุมสภาขึ้นเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม และเมื่อการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรทั่วประเทศได้สำเร็จลง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้พระราชทานพระที่นั่งอนันตสมาคมองค์นี้แก่ผู้แทนราษฎรเพื่อใช้เป็นที่ประชุมสืบต่อมา
ต่อมา เมื่อจำนวนสมาชิกรัฐสภาต้องเพิ่มมากขึ้นตามอัตราส่วนของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น จึงเกิดความจำเป็นที่จะต้องจัดสร้างอาคารรัฐสภาที่มีขนาดใหญ่กว่า เพื่อให้มีที่ประชุมเพียงพอกับจำนวนสมาชิก และมีที่ให้ข้าราชการสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาใช้เป็นที่ทำงาน จึงได้มีการวางแผนการจัดสร้างอาคารรัฐสภาขึ้นใหม่ถึง 4 ครั้งด้วยกัน แต่ก็ต้องระงับไปถึง 3 ครั้ง เพราะคณะรัฐมนตรีผู้ดำริต้องพ้นจากตำแหน่งไปเสียก่อน
ในครั้งที่ 4 แผนการจัดสร้างรัฐสภาใหม่ได้ประสบผลสำเร็จ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงยืนยันพระราชประสงค์เดิมที่จะให้ใช้พระที่นั่งอนันตสมาคมและบริเวณ เป็นที่ทำการของรัฐสภาต่อไป และยังได้พระราชทานที่ดินบริเวณทิศเหนือของพระที่นั่งอนันตสมาคม ให้เป็นที่จัดสร้างสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาขึ้นใหม่ด้วย
สถานที่ทำการใหม่ของรัฐสภา เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 โดยมีกำหนดสร้างเสร็จภายใน 850 วัน ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 51,027,360 บาท ประกอบด้วยอาคารหลัก 3 หลัง คือ
·                     หลังที่ 1 เป็นตึก 3 ชั้นใช้เป็นที่ประชุมวุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร และการประชุมร่วมกันของสภาทั้งสอง ส่วนอื่นๆ เป็นที่ทำการของสำนักงานเลขาธิการรัฐสภา ประธาน และรองประธานของสภาทั้งสอง
·                     หลังที่ 2 เป็นตึก 7 ชั้น ใช้เป็นสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาและโรงพิมพ์รัฐสภา
·                     หลังที่ 3 เป็นตึก 2 ชั้นใช้เป็นสโมสรรัฐสภา
สถานที่ทำการใหม่ของรัฐสภา ใช้ในการประชุมรัฐสภาเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2517 สำหรับพระที่นั่งอนันตสมาคม ถือเป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ และใช้เป็นที่รับรองอาคันตุกะบุคคลสำคัญ ใช้เป็นสถานที่ประกอบรัฐพิธีเปิดสมัยประชุม รัฐพิธีฉลองวันพระราชทานรัฐธรรมนูญ และมีโครงการใช้ชั้นล่างของพระที่นั่งเป็นจัดสร้างพิพิธภัณฑ์รัฐสภา
7 ชั้น ใช้เป็นสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาและโรงพิมพ์รัฐสภา
·                     หลังที่ 3 เป็นตึก 2 ชั้นใช้เป็นสโมสรรัฐสภา
สถานที่ทำการใหม่ของรัฐสภา ใช้ในการประชุมรัฐสภาเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2517 สำหรับพระที่นั่งอนันตสมาคม ถือเป็นสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ และใช้เป็นที่รับรองอาคันตุกะบุคคลสำคัญ ใช้เป็นสถานที่ประกอบรัฐพิธีเปิดสมัยประชุม รัฐพิธีฉลองวันพระราชทานรัฐธรรมนูญ และมีโครงการใช้ชั้นล่างของพระที่นั่งเป็นจัดสร้างพิพิธภัณฑ์รัฐสภา